สิ่งที่เราควรคิดตระหนักถึง เมื่ออายุเริ่มเข้า 40 แต่ยังไม่มีความมั่นคง

ทุกวันนี้ เราจะมาคิดแค่หวังพึ่งแต่คนอื่นไม่ได้แล้วนะ โดยเฉพาะ

เรื่องของเงินทองที่เราต้องรู้จักวางแผน การใช้จ่าย ถ้าอย่างนั้นวันนี้

เราจะพามาสร้างตัวเพื่อให้มีเงินเก็บ ใช้จ่ายเมื่อแก่ตัวไป มีอะไรบ้างนั้น มาดู!

1. ปลดห นี้ให้หมดไวๆ

ยิ่งเร็วเราก็สามารถนำเงินไป ทำอย่างอื่นได้มากขึ้น ถ้าไม่แน่ใจ

ว่าจะปลดหนี้อย่างไร จงดูว่าเรามีหนี้ทั้งหมดกี่ร าย และเท่าไหร่

อัตรา ด อ กเบี้ยแค่ไหน ต่อไปก็ให้จัดลำดับหนี้ ให้หนี้ที่มีอัตร า

ดอกเบี้ยสูง อยู่บน ต่อไปก็ทยอยปลดห นี้ จากก้อนนั้นก่อน

แล้วค่อยๆ ปิดก้อนอื่นๆ ไป

2. มีเงินสำรอง 6 เดือน อย่างต่ำ

มันจะช่วยให้เราสามารถ รับมือกับปัญหาด้านการเงินต่างๆ ได้ดี

โดยไม่ต้องยืมใคร หากคิดจะกู้ก็อาจจะทำให้เรากลับเข้าไป

อยู่ในวงจรหนี้ อีกครั้ง

3. ศึกษาเรื่องภ า ษี

ร ายได้มากก็ต้องจ่ายภ า ษี มาก สิ่งที่เพื่อนๆ ควรศึกษาคือที่เกี่ยวข้อง

กับภ า ษี ไม่ว่าจะเป็นการล ดหย่ อ น หรือการละเว้นต่างๆ ว่ามันทำอย่างไรได้บ้าง

4. รู้จักบริหารความเสี่ ยงให้เป็น

การที่มีสติมันช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ง่าย เรากำลังจะกล่าวถึง

เรื่องของความเสี่ ยงต่าง ๆ ที่มันอาจเกิ ดขึ้นได้ ไม่ว่าคุณจะโส ด

มีครอบครัวก็ตามนะ ความเสี่ ยงที่ควรพิจารณา มี 3 อย่าง ต่อไปนี้

ด้านทรัพย์สิน

เพราะถ้าเราหยุดทำงาน มีความพร้อมรึยังถ้ายังไม่มีเงินฉุ กเฉิ น เราจะอยู่ยังไงล่ะ!

ด้านในการดำเนินชีวิต

ถ้าวันหนึ่งเพื่อน ๆ ขับรถแล้วเกิดอุ บั ติ เห ตุ มีประกั นภัยรถยนต์มั้ย

แล้วจะซื้อมั้ย ถ้าซื้อจะเอาแบบไหนดีนะ?

ด้านชีวิตของเรา

ถ้าเมื่อไหร่เราเจ็ บป่ วยหรือเกิดเห ตุไม่คาดคิดขึ้นมา ครอบครัวจะต้องลำบ าก

เพราะขาดกำลังสำคัญใช่มั้ย คำตอบคือใช่ ก็ลองบริหารความเสี่ ยง เช่น การซื้ อประกั น

5. วางแผนเกษียณ คิดไว้บ้างหรือยัง

หากเราแก่ต้องแก่แบบมีเงินสิ มันจะดูเท่ เพราะอย ากให้วางแผน

เกษียณกันไว ยิ่งวางไวยิ่งดี เพราะการเริ่มต้น ตั้งแต่วันนี้

ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์ของเราเองทั้งนั้น เปลี่ยนตัวเองด้วยการเรียนรู้ให้มาก

เพื่อความฉลาดมากขึ้น อย่ าไปโท ษคนอื่นจากปัญหาที่เกอิดขึ้น

6. สร้างงบ การเงิน

แม้หาเงินได้มาก หากบริหารเงินไม่ดีพอ เงินที่ได้มา ก็คงหมดไปง่ายๆ นั่นแหละ

ฉะนั้นแล้ว สิ่งที่เพื่อนๆ ต้องให้ความสนใจ คือ การสร้างงบรายจ่าย เริ่มต้น จากงบการเงิน

50 -30 -20 ดูสิ (สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออมฉุ กเฉิ น) สิ่งเหล่านี้มันอาจช่วยได้

7. รู้ตัวเองว่ามีอะไรมากกว่ากัน “ทรัพย์สิน” หรือ “หนี้สิน”

หากรายจ่ายสูงพอ ๆ กับรายรับ อย่างแรกเลยที่ควรใส่ใจ คือ ลิสต์รายการ

ของทรัพย์สินนั้น เทียบกับหนี้สินที่มี ถ้างงว่าเราก็มีสินทรัพย์เยอะเหมือนกันนี่

เช่น มือถือรุ่นใหม่ ๆ กล้องถ่ายรูป แต่เหตุใดยังจนอยู่ ง่าย ๆ เลยครับ

มือถือ จำนวน หนึ่ง ราค าประมาณ 25,000 – 30,000 ราคา ข า ย ต่ อ

มูลค่ ามันหายไป แทบจะครึ่งนึงแล้ว เราต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเงินตัวเองได้แล้ว

เช่น สะสมทรัพย์สิน ที่ก่อให้เกิดร ายได้ อย่างพวกหุ้ น กองทุ นไรงี้

Load More Related Articles
Load More By babyghost34
Load More In ข้อคิดเสริมกำลังใจ
Comments are closed.

Check Also

แบบนี้ไม่ได้เรียกว่าความรักหรอก..ถ้ามีรักแล้วไม่ใส่ใจ..อย่ าเสียเวลา

มีรักแล้วไม่ใส่ใจ มันไม่ได้เรียกว่าความรักหรอก รัก คือส … …