7 แนวคิดพาชีวิตดีขึ้น วัยรุ้นสร้างตัว อนาคตดีอยู่ที่การวางแผนเรื่องเงิน ผู้ใหญ่ก็ทำได้
สำหรับเหล่าวัยรุ่น ที่เพิ่งเรียนจบหมาดๆ หลายคนมีความคิดที่จะสร้างรากฐานที่ดีให้ชีวิต
แน่นอนว่าการสร้างรากฐานที่มั่นคงในชีวิตไม่มีทางลัดยิ่งเริ่มเร็วแค่ไหนยิ่งได้เปรียบและ
มี โอกาสประสบความสำเร็จได้เร็วกว่า แต่ก่อนที่จะไปได้ถึงจุดนั้นการวางแผนทางด้าน
กา รเงินที่ดีเป็นเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งการวางแผนที่นี่แหละจะเป็นตัวช่วยให้
เ ร ามีกฏระเบียบในการเก็บออมเงินและเริ่มเข้มงวดกับตัวเองมากขึ้นการวางแผนทาง
กา รเงินไม่ใช่ทางลัด แต่จะเป็นตัวช่วยในการลดระยะเวลาในการเก็บออมเงินเพื่อให้
คุณเป็นวัยรุ่นสร้างตัวที่ประสบความสำเร็จและช่วยลดข้อผิดพลาดได้
1 : แบ่งเงินไว้เก็บ
การวางแผนการเงินเป็นเรื่องสำคัญ ขั้นนี้คือพื้นฐานในการเก็บออมเงินคือการวางแผน
รายรับ รายจ่ายให้ดีเชื่อว่าหลายคนอาจมองข้ามการทำบัญชีรายจ่ายส่วนตัวเป็นวิธีที่
จะ ช่วยให้เราระมัดระวังการใช้จ่ายได้มากขึ้น ยกตัวอย่ างเช่น ได้เงินเดือนมาอันดับ
แร กก็ทำการแยกบางส่วนไปไว้ในบัญชีเงินออม อาจจะแบ่งมาประมาณ 15-20%
ของรายได้ แล้วส่วนที่เหลือก็คือส่วนที่ไว้ใช้ในชีวิตประจำวันหรือกำหนดค่าใช้จ่าย
ต่อวันว่าวันนึงจะใช้จ่ายเท่าไหร่ เป็นต้น
2 : วางแผนการใช้เงิน
ก่ อ น จะวางเป้าหมายการใช้เงินเพื่อสร้างรากฐาน ควรวางลำดับเป้าหมายและกำหนด
ระยะเวลาในการใช้เงินก่อนโดยการวางแผนการใช้เงินด้วยช่วงอายุว่าช่วงอายุเท่าไหร่
มีเป้าหมายจะมีอะไรเป็นของตัวเองเช่นช่วงอายุ 25 ปีเริ่มดาวน์รถในราคา 1 แสนบาท
เ ป็ นต้นซึ่งการกำหนดเป้าหมายเป็นเรื่องที่ดี แต่ไม่ควรกดดันตัวเองมากเกินไป โดย
เป้าหมายของแต่ละคนก็แตกต่างกันออกไปไม่ว่าจะเป็นบ้าน , คอนโดการดาวน์บ้าน
หรือคอนโดควรมีเงินเก็บจำนวนหนึ่งโดยปกติแล้วควรมีสำรองไว้ประมาณ 15-20%
ซึ่งการเลือกบ้านหรือคอนโดสักแห่งไม่ควรเลือกที่เกินกำลังผ่อนต่อเดือน โดยปกติ
แล้วการผ่อนต่อเดือนไม่ควรเกิน 40% ของรายได้ในแต่ละเดือนรถ ปกติแล้วต้องมี
เงินดาวน์ไม่ต่ำกว่า 20% ของราคารถ และควรคำนึงถึงราคาที่ผ่อนรายเดือนด้วย
ไม่ควรเกิน 40% ของรายได้ต่อเดือนการจะผ่อนที่ราคาสูงควรเช็คสภาพการเงิน
ของตนเองให้ดี และไม่ควรเลือกราคาเกินตัว
3 : ออมเงินไว้เผื่อ ฉุ ก เ ฉิ น
เป็นเงินออมที่เก็บแยกออกมาจากข้อแรก นั่นก็คือเงินออมไว้เพื่อย าม ฉุ ก เ ฉิ น
เชื่อว่าหลายคนอาจมองข้ามการเก็บเงินไว้สำหรับใช้ในย ามฉุกเฉ น ควรเก็บเงิน
ไว้เพื่อใช้ในส่วนนี้ประมาณ 5-10% จากรายได้ทั้งหมด การมีเงินในส่วนนี้จะช่วย
ให้อุ่นใจเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเช่น ค่าซ่อมแซมบ้าน ค่ารักษาพย าบาลรวมถึงสำรอง
ไว้เมื่อต้องโยกย้ ายงาน ฯลฯ เก็บเงินส่วนนี้ตั้งแต่เนิ่นๆเวลามีเหตุ ฉุ ก เ ฉิ น
จะได้ไม่เดือดร้อนไปถึงเงินออมของเรา
4 : หารายได้ช่องทางอื่นบ้าง
ในยุคที่สื่อสังคมออนไลน์เป็นที่นิยมและคนไทยในปัจจุบันนิยมซื้อขายผ่านช่อง
ทางออนไลน์เป็นส่วนใหญ่แล้ว การสร้างรายได้จากช่องทางออนไลน์ถือว่าเป็น
วิธีที่ไม่ยุ่งย ากและใช้ต้นทุนต่ำกว่ายุคก่อนๆ เชื่อว่าวัยรุ่นยุคใหม่ทุกคนต่างคุ้น
เ ค ย กับสื่อออนไลน์เป็นอย่ างดี ซึ่งช่องทางนี้แหละครับที่จะเป็นรายได้เสริม
น อ ก เหนือจากงานประจำได้ บางคนสามารถหารายได้จากการ ซื้อขายของ
ออนไลน์ได้รายได้เท่ากับเงินเดือนประจำหรือมากกว่าได้เลยทีเดียว รวมถึง
สามารถรับงานฟรีแลนซ์เพื่อสร้างรายได้เสริมได้อีกช่องทางหนึ่ง เช่น งาน
กราฟฟิคดีไซน์เนอร์ฟรีแลนซ์ งานเขียนฟรีแลนซ์ ฯลฯ
5 : กำหนดรายจ่าย
ค่ า ใ ช้ จ่ายรายเดือนทั้งหลายก็ต้องลิสต์ไว้ด้วย การเช็คลิสต์และแบ่งหมวดห มู่
ค่าใช้จ่ายต่างๆ จะช่วยให้เราระมัดระวังการใช้เงินและกำหนดค่าใช้จ่ายได้ชัดเจน
มากขึ้น ซึ่งค่าใช้จ่ายใหญ่ๆ แบ่งตามหมวดได้ดังนี้ค่าผ่อนรถ ค่าผ่อนบัตรเครดิต
ฯลฯ ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน
6 : เงินออม
ก า ร ที่เราลิสต์ค่าใช้จ่ายอย่ างละเอียดนี้ถือเป็นการวางแผนทางการเงินเบื้องต้นที่
นำไปใช้ได้จริงและช่วยลดปัญหาทางการเงินต่างๆที่อาจตามมาได้เยอะเลยทีเดียว
ทั้งนี้หนี้สินในแต่ละเดือนไม่ควรเกิน 40% ของรายได้ต่อเดือน
7 : การสร้างครอบครัว
คว ร เก็บเงินก้อนสำหรับการสร้างครอบครัวโดยเฉพาะ เ พ ร า ะการจัดงานแต่งงาน
สั ก ค รั้ ง อ าจจะใช้เงินสูงถึงหลักแสนเลยทีเดียวรวมทั้งควรเตรียมความพร้อมทั้ง
ค่ า ค อ ด ค่าเลี้ยงดู ควรมีรายได้สม่ำเสมอ ล ง ทุ น เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดีที่จะ
ช่ ว ย ใ ห้ เงินงอกเงยและสามารถสร้างความมั่นคงได้เลยทีเดียว เริ่มลงทุนง่าย ๆ
ด้ ว ย การเก็บเงิน 10-15% จากรายได้ทั้งหมดต่อเดือนเพื่อนำมาต่อยอดลงทุน
ซึ่งการลงทุนแต่ละประเภทก็มีความเสี่ยงที่แตกต่างกันออกไปควรเช็คความพร้อม
ของตัวเองให้ดี
การวางแผนการใช้เงินสำหรับวัยรุ่นนี้..เป็นเรื่องใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม ยิ่งในช่วง
เศ รษฐกิจในทุกวันนี้แล้วยิ่งต้องวางแผนให้ดีซึ่งการวางแผนการเงินนี้จะช่วยให้
เราเห็นเป้าหมาย ระมัดระวังการใช้เงิน และกำหนดค่าใช้จ่ายได้มากขึ้น