ฐานะการเงินที่มั่นคง คุณเคยสำรวจตัวเองกันบ้างมั้ยหรือไหม ว่าคุณมี แล้วหรือยัง และคุณได้ทำเป้าหมายชีวิตของคุณ
สำเร็จไปถึงไหนแล้ว? หลายๆ คน คงกำลังเริ่มมองหาความมั่นคงในชีวิตกันบ้างแล้ววัยขึ้นเลข 3 แบบนี้ ฐานะการเงินของเรา
เป็นยังไงแล้วบ้าง แต่ว่าเราจะรู้ได้ยังไงว่าเราวางแผนการเงินได้ดีพอแล้วหรือยัง? เลยอย ากจะชวนคุณ
หันมาสำรวจตัวเองพร้อมๆ ฐานะการเงิน ที่มั่นคงกัน
1 : บริหาร ความเสี่ ยงให้ได้
การมีสติ ช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ ไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ตาม ความเสี่ ยงเราควรบริหารให้เป็น เช่น ความเสี่ยง
ด้านทรั พย์สิน ก็คือเมื่อเราหยุดทำงานไปแล้ว (ไม่ว่าจะลาออก หรือไม่ก็ตาม) เรามีความพร้อมรึยังและถ้าไม่มี
สิ่งแรกที่ควรทำ คือสำรอ งเงินไว้ย ามฉุ กเฉิ นประมาณ 6 เดือน เอาไว้ก่อน เริ่มต้นจากการ สะสมทรัพย์สิน
ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เช่นนี้เป็นต้น
2 : สร้างงบการเงิน ในแบบของตนเอง
แม้จะหาเงินได้มากแค่ไหน แต่บริหารไม่ดี เงินที่ได้มาก็จะหมดไปง่ายๆ เหมือนกัน รวยกันแค่วันสิ้นเดือน ฉะนั้นสิ่งที่เพื่อนๆ
ต้องให้ความสนใจ คือ การสร้างงบ รายจ่าย ถ้ายังไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นแบบไหน ให้เริ่มจากงบการเงิน 50-30 ดูนะ
3 : ควรมีเงินสำรอง อย่ างน้อย 6 เดือน จึงจะดี
เงินจำนวนนี้ จะช่วยให้เราสามารถรับมือ กับปัญหาเฉพาะหน้าด้านการเงินได้ โดยไม่ต้องไปพึ่งใครเขา
ซึ่งหากเราไม่มีเราอาจกลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้ อีกครั้งก็เป็นได้
4 : วางแผนเกษี ยณตั้งแต่ตอนนี้
แก่ไม่ว่า แต่อย่ าไม่มีเงิน”ที่บอกเช่นนี้ เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณไว้ ยิ่งวางเร็วยิ่งดี เพราะงั้น
การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเรา ไม่ต้องลำบ ากลูกหลานด้วยนะ
5 : ทรัพย์สิน VS หนี้สิน เรามีอะไรมากกว่ากัน
และถ้าเพื่อนๆ ทำงานได้เงินเดือน หลักหลายหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายไปกับหนี้ เยอะพอๆ กับรายรับเราควรต้อง ลิสต์รายการ
ของทรัพย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับหนี้สินที่มี และถ้ามานั่งงงว่า เราก็มีสินทรัพย์เยอะ ทั้ง โทรศัพท์, สมาร์ทโฟน กล้อง ฯลฯ
แต่เหตุใดยังจนอยู่ คิดง่ายๆ เลย สมาร์ทโฟน จำนวน 1 เครื่อง 25,000 – 30,000 แต่ขายต่อ มันก็หายไปแทบจะครึ่งแล้ว
แค่นี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่มั้ย ต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเงินให้ตัวเองได้แล้ว
6 : วางแผนภาษีให้ดีนะ
ยิ่งร ายได้มากเท่าไหร่ ก็อย่ าลืมว่าภ าษี ก็ต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัวของเราเลย เพราะถือเป็นกฏหมายที่ทุกคน
ต้องทำตาม สิ่งที่ ควรศึกษาคือเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อนหรือการละเว้นใดๆ
ก็ตามที ควรศึกษา ให้เข้าใจ
7 : ทยอยปลดหนี้
นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเงินไปทำอย่ างอื่น ได้มากขึ้นเท่านั้นและเมื่อยังไม่แน่ใจว่า
จะปลดหนี้ยังไงดี แนะนำว่าให้เริ่มจากดูว่าเรามีหนี้ทั้งหมด กี่ราย, จำนวนเงินที่เป็นหนี้ ของแต่ละราย
และอั ต ร า ด อ กเบี้ ยแล้วให้จัดลำดับห นี้โดยให้หนี้ที่มีอัตรา ด อ กเบี้ ยสูง อยู่ด้านบน ปลดหนี้จากก้อนนั้นก่อน
ต่อไปค่อยๆ ทยอยปิดหนี้ก้อนอื่นๆ ตามมา